แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
ตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
นางสาวประกายดาว พลรักษ์เขตต์
ตำแหน่ง ครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี)๒
ปีการศึกษา 2567
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.67 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา วิทยาศาสตร์สร้างสรรค์(ว23210) จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ฟิสิกส์(ว30201) จำนวน 10.0 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ฟิสิกส์(ว30203) จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ลูกเสือ - เนตรนารี จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 32 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 15.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา วิทยาศาสตร์(ว23103) จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา วิทยาศาสตร์(ว23216) จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส์) (ว30103) จำนวน 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟิสิกส์) (ว30206) จำนวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ฟิสิกส์ (ว30204) จำนวน 6.67 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ลูกเสือ - เนตรนารี จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา ชุมนุม จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 32 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ประเด็นท้าทายเรื่อง การพัฒนาทักษะการคำนวณและความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
เป้าหมายเชิงปริมาณ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
จํานวน 1 ห้อง ทั้งหมด 40 คน
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์สูงขึ้น
เป้าหมายคุณภาพ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
จํานวน 1 ห้อง ทั้งหมด 40 คน
มีความรู้ความเข้าใจเนื้อหาฟิสิกส์และสามารถแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ได้
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพฟิสิกส์ (ว30206)
มีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ
เรียนรู้และทำงานร่วมกันโดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพฟิสิกส์
สร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้ผู้เรียนมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสื่อ นวัตกรรม
1) แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนเมื่อผู้เรียนเรียนรู้จบหน่วยการเรียนรู้
2) แบบประเมินการทำใบงาน เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน สมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียน จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทักษะศตวรรษที่ 21
1) แบบทดสอบก่อน-หลังเรียนเมื่อผู้เรียนเรียนรู้จบหน่วยการเรียนรู้
2) แบบประเมินการทำใบงาน เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน สมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียน จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทักษะศตวรรษที่ 21
1.6 การศึกษา วิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี
บรรยากาศการใช้สื่อ
ในการจัดการเรียนรู้
จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้ และ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและลักษะของผู้เรียน ดังนี้
1) เร้าความสนใจด้วย สื่อการสอน ที่นำนวัตกรรม เทคโนโลยี ที่ทันสมัย เข้า
มาใช้ในการจัดการชั้นเรียน
2) ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสนำเสนอความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
โดยผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นแก่นความรู้ได้อย่างแท้จริง
3) ใช้สื่อการเรียนการสอน คือ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
4) ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการเรียนรู้แบบActive Learning
โดยใช้กระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ( Inquiry Method : 5E)
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา เพื่อใช้ในการ
ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและประสาน
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
คลิกเพื่อดูเอกสารประกอบ
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
2.4 ประสานความร่วมมือ
ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
1) จัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้งเพื่อติดตามแก้ไขปัญหา
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
2) มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกภาคเรียน เพื่อติดตามแก้ไขปัญหา ช่วยเหลือนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
การเข้าร่วมอบรมและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
1. นิทรรศการ ในงานการสร้างคนดี คนเก่ง คนกล้า ให้มีความยั่งยืน
วันที่ 4 เมษายน 2567 งานอนุรักษ์พลังงานนำคณะครูและนักเรียนแกนนำศึกษาดูงาน ชมนิทรรศการ การสร้างคนดี คนเก่ง คนกล้า ในสังคมไทย ให้มีความยั่งยืน โดยในงานประกอบไปด้วยกิจกรรมการให้ความรู้ต่างๆ มากมาย เช่น เรื่องการใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีคุณค่า จากการไฟฟ้านครหลวง โครงการหมู่บ้านช่อสะอาด จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต โครงการขยะดีมีรายได้จากโรงเรียนอาเวมารีอำนาจเจริญ การดูแลทรัพยากรธรรมชาติ จากกระทรวงทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ณ ห้องประชุม B1 อาคารรัฐสภา คณะกรรมาธิการ
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม อาคารวุฒิสภา
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
2. กิจกรรมปฐมนิเทศ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4
ในวันที่ 9-10 พฤษภาคม 2567 นักเรียนแกนนำอนุรักษ์พลังงาน ได้จัดกิจกรรมสถานีการเรียนรู้เรื่องขยะ การคัดแยกขยะ ถังสีเขียว ถังสีเหลือง ถังสีแดง ถังสีน้ำเงิน เรียนรู้การจัดการขยะด้วยตัวเองได้ง่ายๆ โดยเริ่มจากการคัดแยกขยะก่อนทิ้งให้ถูกวิธี และทิ้งขยะแต่ละประเภทลงในภาชนะรองรับที่ถูกต้อง เพื่อเป็นความสะดวกสำหรับ
ผู้ขนย้าย นำขยะบางชนิดไปขายเพิ่มรายได้ รวมถึงง่ายต่อการนำไปกำจัดในขั้นตอนต่อไป ช่วยลดปริมาณขยะ และรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดียิ่งขึ้น
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
3. ประกาศนโยบายลดใช้พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มอบเข็มและเกียรติบัตรให้กับนักเรียนแกนนำอนุรักษ์พลังงาน
วันที่ 9 กรกฎาคม 2567 งานอนุรักษ์พลังงานจัดกิจกรรมประกาศนโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ปีการศึกษา 2567 ให้กับคณะครู นักเรียน และบุคลากรทางในโรงเรียน เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีร่วมกัน การบูรณาการความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม การมุ่งลดการใช้พลังงาน ปริมาณขยะ เผยแพร่ความรู้สู่ชุมชน อีกทั้งยังมีพิธีมอบเข็มและเกียรติบัตรให้กับนักเรียนแกนนำอนุรักษ์พลังงาน เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
4. กิจกรรม “นำความรู้สู่ชมชน”
วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม 2567 งานอนุรักษ์พลังงานเข้าร่วมจัดกิจกรรม “นำความรู้สู่ชมชน” เพื่อ เป็นการเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน การดูแล
รักษาสิ่งแวดล้อม คัดแยกขยะ วิธีดูแลสุขภาพ และกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เนื่องในโอกาศมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระเจริญชนมพรรษา ๖ รอบ ๗๒ พรรษา ณ บริเวณสระน้ำสาธารณะชุมชน หมู่บ้านปัฐวิกรณ์
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
5. กิจกรรม “โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
วันศุกร์ ที่ 2 สิงหาคม 2567 งานอนุรักษ์พลังงานเข้าร่วมกิจกรรมเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 กิจกรรมภายในงานครั้งนี้ ประกอบด้วย กิจกรรมจิตอาสาปลูกป่า ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ และเก็บขยะป่าชายเลน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล การเสวนาในหัวข้อ “การอนุรักษ์และการบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ” ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบกบางปู เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชินี จังหวัดสมุทรปราการ
3.1 พัฒนาตนเอง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
6. เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
และสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
โครงการ Energy Mind Award Season 2 ปี 2567 ณ ศูนย์รวมตะวัน จ.กาญจนบุรี ในวันที่ 30 ส.ค. 67 - 1 ก.ย 67
3.2 มีส่วนร่วมในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้
PLC